Logo
ปิดเมนู
หมวดหมู่
ย้อนกลับ
หมวดหมู่
ฐานข้อมูลชาติพันธุ์
กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย
แผนที่กลุ่มชาติพันธุ์
งานวิจัยชาติพันธุ์
สถานการณ์/นโยบาย
กฎหมาย/นโยบายที่เกี่ยวข้อง
สถานการณ์ชาติพันธุ์
พื้นที่คุ้มครองวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์
ข้อเสนอเชิงนโยบายชาติพันธุ์
กลไกเชิงนโยบายชาติพันธุ์
ปิดเมนู
เกี่ยวกับเรา
หน้าหลัก
ฐานข้อมูลชาติพันธุ์
ย้อนกลับ
ฐานข้อมูลชาติพันธุ์
ฐานข้อมูลชาติพันธุ์
กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย
งานวิจัยชาติพันธุ์
ปิดเมนู
สถานการณ์/นโยบาย
ย้อนกลับ
สถานการณ์/นโยบาย
ทั้งหมด
กฎหมาย/นโยบายที่เกี่ยวข้อง
สถานการณ์ชาติพันธุ์
พื้นที่คุ้มครองวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์
ข้อเสนอเชิงนโยบายชาติพันธุ์
กลไกเชิงนโยบายชาติพันธุ์
ปิดเมนู
ตัวช่วยการมองเห็น
ก
ก
ก
ขยายขนาดตัวอักษร
ฐานข้อมูลชาติพันธุ์
ฐานข้อมูลชาติพันธุ์
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย
(ทั้งหมด 60 กลุ่ม)
ดูทั้งหมด
ไตหย่า
(ไตหย่า, ไทหย่า, ไต, ฮวาเย่าไต)
เป็นชื่อเรียกตัวเองที่หมายถึง กลุ่มชาวไตเมืองหย่า ส่วนคนอื่นมักเรียกว่า "ฮวาเย่าไต" เป็นชื่อเรียกในภาษาจีน แปลว่า ไตผ้าคาดเอวลาย
อ่านต่อ
ยอง
(คนยอง, ชาวยอง, ไทยอง, ขงเมืองยอง, จาวยอง, คนเมืองยอง, ลื้อเมืองยอง)
เป็นชื่อเรียกตนเองตามชื่อเมืองยอง ซึ่งเป็นเมืองหนึ่งในรัฐฉาน ประเทศเมียนมา คนภายนอกมักเรียกว่า คนเมืองยอง และลื้อเมืองยอง
อ่านต่อ
กะเลิง
(กะเลิง, ข่า, ข่าเลิง, ไทกะเลิง, ไทยกะเลิง, ไทยกวน)
สันนิษฐานว่าคำดังกล่าวมาจากภาษาจาม คือ กะลุง (klung) ที่เพี้ยนจากคำว่า “คุณลุน” หรือ “กุรุง” ในภาษาจีน นอกจากนี้คนกลุ่มนี้ยังถูกเรียกว่า “ข่า” และ “ข่าเลิง” ซึ่งเป็นคำที่มีนัยยะของการดูถูกเหยียดหยาม
อ่านต่อ
ลีซู
(ลีซู, ลีซอ)
เป็นชื่อเรียกตนเอง แปลว่า คนป่า หรือจารีตประเพณี แปลโดยรวมว่า "กลุ่มคนที่มีประเพณีวัฒนธรรมของตนเอง" ในขณะที่คนภายนอกมักเรียกคนกลุ่มนี้ว่า "ลีซอ" ซึ่งเป็นชื่อที่ถูกเรียกโดยคนจีน ซึ่งชาวลีซูไม่ชื่นชอบที่ถูกเรียกเช่นนั้น
อ่านต่อ
ม้ง
(ม้ง, เหมียว, แม้ว)
เป็นชื่อเรียกตนเองของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง ซึ่งมีเครือข่ายทางสังคมข้ามชาติ มีชื่อเรียกโดยคนอื่นว่า "แม้ว" เป็นคำเรียกที่มีนัยยะอคติทางชาติพันธุ์ที่เจ้าของวัฒนธรรมไม่ชื่นชอบที่ถูกเรียกเช่นนั้น
อ่านต่อ
กะซอง
(กะซอง, ชอง, ชองของตราด)
เป็นชื่อเรียกกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน แต่เดิมรู้จักกันในชื่อ "ชอง" จากการศึกษาด้านภาษาศาสตร์ จึงปรับเป็นชื่อ "กะซอง" เพื่อให้เห็นความแตกต่างกับกลุ่มชาติพันธุ์ชองที่ตั้งถิ่นฐานในจังหวัดจันทบุรี
อ่านต่อ
ไทดำ
(ลาวโซ่ง, ไทยโซ่ง, ไทดำ ,ไทยทรงดำ, ไตดำ, โซ่ง , ลาวทรงดำ, ผู้ไทยดำ, ไทยดำ)
เป็นชื่อเรียกตนเองที่เกิดจากการเคลื่อนไหวเพื่อฟื้นฟูอนุรักษ์วัฒนธรรมของกลุ่มคนที่ต้องการเรียกชื่อของตนเองว่า “ไทดำ” ส่วนชื่อที่ชาวไทดำไม่ชื่นชอบที่ถูกเรียก คือ “ลาวโซ่ง” “ลาวทรงดำ” “ผู้ลาว” “ผู้ลาวโซ่ง”
อ่านต่อ
ไทลื้อ
(ลื้อ, ไตลื้อ, ไทลื้อ, ไทลื้อ, ไทยลื้อ, ไปอี)
เป็นชื่อเรียกตนเองของชาวลื้อในประเทศไทย เช่นเดียวกับคำว่า "ลื้อ" และ "ไตลื้อ" ส่วนคำว่า "สุ่ยไป่อี" เป็นคำแฝงอคติทางชาติพันธุ์ที่ชาวจีนฮั่นใช้เรียกชาวลื้อบริเวณสิบสองปันนา
อ่านต่อ
ดูทั้งหมด
งานวิจัยชาติพันธุ์
(ทั้งหมด 1378 ชิ้น)
ดูทั้งหมด
'ดูทุหล่า' ในพิธีเรียกวีหล่าของชาวกะเหรี่ยงโป : กรณีศึกษากะเหรี่ยงโป บ้านเกาะสะเดิ่ง ตำบลไล่โว่ อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
ผู้เขียน : โกวิท แก้วสุวรรณ
ดูทูหล่าในพิธีเรียกวีหล่า หรือเรียกขวัญ เป็นพิธีกรรมที่มีความสำคัญของชาวโพล่งที่มีการผูกข้อมือด้วยด้ายสีต่างๆ ตามเชื้อสายของต้นตระกูล วีหล่าเกิดขึ้นในพิธีการเปลี่ยนผ่านสถานภาพ การแต่งงาน งานบุญข้าวใหม่ การเจ็บป่วย และเกิดเหตุการณ์ไม่ปกติ
อ่านต่อ
"ปินเตา" วิถีการดูแลสุขภาพ "คนเมือง" บ้านม่วงยาย
ผู้เขียน : เสถียร ฉันทะ
เป็นการเรียนรู้เรื่องยาสมุนไพร ควบคู่กับการทำความเข้าใจ และตีความหมายอาการและการใช้พืชสมุนไพรรักษา ที่มีการเรียนรู้จากบรรพบุรุษที่เป็นหมอยา ครอบครัวของหมอยา และการเรียนรู้ของผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยระหว่างรับการรักษา
อ่านต่อ
'ประวัติการอพยพเคลื่อนย้ายของชาวไทพวนในประเทศไทย' และ 'ลักษณะทั่วไปของชาวไทยพวน ในเขตอำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี'
ผู้เขียน : ปรารถนา แซ่อึ้ง
ถิ่นฐานดั้งเดิมของชาวไทพวน อยู่ทางตอนเหนือของประเทศลาว ต่อมาคนกลุ่มนี้ถูกกวาดต้อนเข้ามาอยู่ในประเทศไทยบริเวณอำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี มีการอยู่อาศัยร่วมกันแบบเครือญาติ นับถือศาสนาพุทธ แต่งกายด้วยผ้ามัดหมี่
อ่านต่อ
"ดลั๊งชั่ว" แนวคิดในการจัดการความเจ็บป่วยกลุ่มชาติพันธุ์ "ม้ง"
ผู้เขียน : ทรงวิทย์ เชื่อมสกุล
ภาวะเจ็บป่วยของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง เกิดจากสาเหตุต่างๆ ทั้งผีทำหรือผีแกล้ง ขวัญหาย คุณไสยหรือมนต์ดำ อากาศเปลี่ยนแปลง อวัยวะภายในร่างกายทำงานผิดปกติ เชื้อโรค รวมทั้งความประมาทและเคราะห์ร้าย แนวทางรักษาจึงต้องใช้ทั้งหมอผี และหมอสมุนไพร
อ่านต่อ
ดูทั้งหมด
SCAN ME
open in App Store
SCAN ME
open in Play Store
close
หากท่านเป็นสมาชิกเว็บไซต์ www.sac.or.th แล้ว ท่านสามารถล็อกอินเข้าใช้งานฐานข้อมูลและบริการอื่น ๆ ของศูนย์ฯ ได้ด้วยบัญชีผู้ใช้เดียวกัน
สมัครสมาชิก
ลืมรหัสผ่าน
ลืมรหัสผ่าน?
กรุณากรอกอีเมลที่ท่านสมัครสมาชิกไว้เพื่อรับรหัสผ่านใหม่
ตกลง
ระบบจัดส่งการสร้างรหัสผ่านใหม่ให้ท่านทางอีเมลเรียบร้อยแล้ว
คะแนนสะสม
ข้อมูลส่วนตัว
ที่อยู่สำหรับจัดส่ง/ใบเสร็จ
ประวัติการสั่งซื้อ
ติดตามสถานะสินค้า
คะแนนสะสม
ออกจากระบบ
นโยบายความเป็นส่วนตัว
ข้าพเจ้ายอมรับ